ARTICLE

LINE notify
SCADA (HMI) แจ้งเตือน Alarm ผ่านไลน์ SCADA (HMI) แจ้งเตือน Alarm ผ่านไลน์ ("FactoryTalk Optix และ LINE Notify) สวัสดีครับ หลายท่านคงทราบกันดีถึงกระแสของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเทคโนโลยีหนึ่งที่นับเป็นหัวใจสำคัญของยุคสมัยนี้ก็คือ Industrial
dashboard
Dashboard กับ Storyboard ต่างกันอย่างไร? Dashboard กับ Storyboard ต่างกันอย่างไร? นี่อาจเป็นคำถามที่ค้างคาใจใครหลายๆคนว่า แดชบอร์ด (Dashboard) คืออะไร มันแตกต่างกับสตอรีบอร์ด (Storyboard) อย่างไร และเมื่อไรควรใช้สตอรีบอร์ดและแดชบอร์ด  เนื่องจากเรามีการรับรู้ที่แตกต่างกันว่าจริงๆ แล้วแดชบอร์ดคืออะไร บทความต่อไปนี้จะช่วยให้คุณมีความเข้าใจที่ดีขึ้นระหว่างสตอรีบอร์ดกับแดชบอร์ด Dashboard
Dashboard-dataview
ประโยชน์ของแดชบอร์ด(Dashboard)สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ประโยชน์ของแดชบอร์ด(Dashboard)สำหรับบริหารการผลิต การจัดการองค์กรหรือบริษัทที่เป็นอุตสาหกรรมการผลิตจำเป็นต้องทราบถึงความเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆที่เกิดในกระบวนการผลิต นี่หมายถึงการมีมุมมองภาพรวมเกี่ยวกับแง่มุมที่สำคัญต่างๆในการผลิต ในฐานะผู้บริหารคุณจะได้รับข้อมูลมากมายที่มาจากหลายแหล่งในกระบวนการผลิตรวมถึงข้อมูลทางธุรกิจอื่นๆ ข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญมากของบริษัทในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ความสามารถในการทำความเข้าใจและการใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมจะมีผลต่อการสร้างแดชบอร์ดที่เป็นปรัโยชน์ต่อการผลิต ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีเครื่องมือที่จะช่วยคุณจัดการและประมวลผลข้อมูลที่หลั่งไหลเข้ามานี้ เพื่อตรวจสอบทุกแง่มุมที่สำคัญของการผลิตและองค์กรของคุณ แดชบอร์ดเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการแสดงภาพข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการผลิตของบริษัท เพื่อช่วยในการวิเคราะห์และตีความหมายสำหรับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ตรวจสอบข้อมูลอย่างอัตโนมัติด้วยแดชบอร์ด แดชบอร์ดที่ดีควรช่วยให้คุณมองเห็นสิ่งสำคัญของกระบวนการผลิตได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นคุณจึงสามารถตรวจสอบข้อมูลการผลิตได้โดยอัตโนมัติ และอื่นๆ อีกมากมาย แต่ก่อนอื่นเรามาดูกันว่าแดชบอร์ดคืออะไร แดชบอร์ดคืออะไร? แดชบอร์ดเป็นเครื่องมือทางเทคโนโลยีขององค์สมัยใหม่
TSDB
อุตสาหกรรมของคุณจะได้อะไรจากการใช้งาน Data Historian? อุตสาหกรรมของคุณจะได้อะไรจากการใช้งาน Data Historian? Data Historian ดีกว่าระบบ SCADA และ DCS อย่างไร? Data Historian ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ในรูปแบบ Time-series และสร้างการเชื่อมโยงที่สมบูรณ์แบบระหว่าง OT
Time series
Time series คืออะไร? Time series คืออะไร? Time series คือ อนุกรมของจุดข้อมูลที่เกิดขึ้นตามลำดับในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งสามารถใช้กับตัวแปรใดก็ได้ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น ราคาหุ้น การลงทุนในตลาดหุ้นจะใช้ Time series เพื่อติดตามราคาของหลักทรัพย์เมื่อเวลาผ่านไป สามารถติดตามได้ทั้งระยะสั้น เช่น ราคาหลักทรัพย์รายชั่วโมงในวันทำการ
เซอร์โวมอเตอร์ตอนที่ 4 (การเลือก IP เซอร์โวมอเตอร์ให้เหมาะกับงาน) เซอร์โวมอเตอร์ (servo motor) ตอนที่ 4 การเลือก IP Rating เซอร์โวมอเตอร์ให้เหมาะกับงาน วันนี้ขอแชร์ประสบการณ์ที่ลูกค้าของเราเลือกใช้เซอร์โวมอเตอร์ไม่เหมาะสมกับสถาพแวดล้อมซึ่งส่งผลให้มันสามารถใช้งานได้เพียง 4-5 เดือนเท่านั้น  ปัญหาที่เกิดกับเซอร์โวมอเตอร์ในกรณีนี้ คือ Encoder
PlantPAx5
PlantPAx ยุคใหม่ของ DCS Distributed Control System หรือที่เรียกย่อๆว่า DCS คือ ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับโปรเซส (Process) ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีลูปการควบคุมจำนวนมาก ซึ่งตัวควบคุมอัตโนมัติ (Controller) จะกระจายไปทั่วทั้งระบบ โดยไม่มีการควบคุมจากส่วนกลางซึ่งตรงกันข้ามกับระบบที่ใช้ตัวควบคุมแบบรวมศูนย์ (Centralized control system) DCS
Drive damage
ทำไม VFD หรือ Inverter จึงเกิด Fault ? สาเหตุที่ทำให้ VFD หรือ Inverter เกิด Fault ? เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าอุปกรณ์ที่นิยมใช้เพื่อปรับความเร็วรอบมอเตอร์ในโรงงานอุตสาหกรรม คือ Variable Frequency Drive (VFD)
BIM-1
การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคารนำไปสู่การร่วมงานระหว่าง ABB และ Sonepar การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร (Building Information Modelling, BIM) กำหนดแนวทางการทำงานร่วมกันภายใต้เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งช่วยปลดล็อกวิธีการออกแบบและดำเนินงานโครงการก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เรากำลังเห็นการนำ BIM ไปปรับใช้อย่างรวดเร็วโดยผู้เล่นหลักในอุตสาหกรรมของเรา มีแรงจูงใจหลักสองประการที่อยู่เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลงนี้: ประการแรกคือประโยชน์ที่ BIM สร้างขึ้นนั้นไม่เพียงแค่ลูกค้า แต่ยังรวมถึงห่วงโซ่อุปทานทั้งหมดด้วย ประการที่สองคือความสามารถของ
เซอร์โวมอเตอร์ตอนที่ 3 การเลือกขนาดมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์ (servo motor) ตอนที่ 3(การเลือกขนาดมอเตอร์) การเลือกขนาดเซอร์โวมอเตอร์ให้เหมาะสมกับงานนั้นยากกว่าการเลือกขนาดอินดักชั่นมอเตอร์แบบทั่วไป  เพราะไม่เพียงแต่ต้องคำนึงถึงอัตราเร่งความเร็ว อัตราการชะลอตัวและแรงบิดในการขับโหลดเท่านั้น แต่ยังรวมถึงความสามารถของเซอร์โวมอเตอร์ในการควบคุมความเร็ว ตำแหน่งหรือแรงบิด  ซึ่งเราต้องคำนวณแรงบิดสูงสุด(peak torque) อัตราเร่งความเร็วและอัตราชลอความเร็ว  ตลอดจนแรงบิดขณะขับโหลดปกติ(normal torque) นอกจากนี้ต้องคำนวณความเฉื่อย(inertia)ของระบบ (Inertia