หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain)

หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) เซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) คือ อุปกรณ์เซฟตี้ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต์ มักพบการใช้งานกับเครื่องปั๊มโลหะ และเครื่องจักรที่ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าถึงจุดเสี่ยงค่อนข้างบ่อย  เราอาจอธิบายอย่างง่ายว่าเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยเป็นโฟโตอิเล็กทริกเซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อปกป้องบุคคลจากการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากเครื่องจักร หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า AOPDs (Active Opto-electronic Protective Devices) หรือ ESPE (Electro Sensitive Protective Equipment)  เซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยให้ความปลอดภัยกับผู้ปฏิบัติงานแต่ให้ผลิตภาพ(productivity)ที่มากกว่าระบบอื่นๆ ทั้งนี้ต้องติดตั้งและประกอบวงจรควบคุมให้สอดคล้องตามการประเมินความเสี่ยงที่ได้จัดทำไว้   หลักการทำงาน เซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยประกอบด้วยตัวส่ง (Emitter) และตัวรับ (Receiver) ที่สร้างลำแสงอินฟราเรดหลายลำแสง โดยปกติจะนำไปติดตั้งอยู่ด้านหน้าหรือรอบๆ พื้นที่อันตราย ตัวส่งจะถูกซิงโครไนซ์กับตัวรับด้วยลำแสงของโฟโตอิเล็กทริกที่อยู่ปลายสุดของตัวเซนเซอร์  นอกจากนั้นมันจะกำจัดการรบกวนจากแสงโดยรอบและสัญญาณรบกวน (crosstalk) จากเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยตัวอื่นๆ  โดย LED ในตัวส่ง(emitter) จะสร้าง Pulse ในอัตราคงที่ (frequency modulated) และ LED แต่ละตัวจะสร้าง Pulse เรียงลำดับกันเพื่อให้ตัวส่ง(emitter) ตัวหนึ่งสามารถส่งแสงให้ตัวรับเฉพาะตัวที่เกี่ยวข้องกับมันเท่านั้น  เมื่อลำแสงทั้งหมดถูกตรวจสอบแล้วมันจะเริ่มต้นใหม่อีกรอบและทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ  ในรูปที่ 1 […]

System

21 April 2020

บริจาคอุปกรณ์เพื่อการศึกษาให้กับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Aliquam porta volutpat consectetur. Morbi elementum semper efficitur. Pellentesque habitant morbi tristique senectus et netus et malesuada fames ac turpis egestas. Vestibulum in ante quam. Integer faucibus blandit neque, at laoreet odio varius sit amet. In rutrum orci quis orci sollicitudin, eu suscipit est ornare. Fusce vitae neque nulla.

System

13 March 2020

เทคนิคการต่อเซ็นเซอร์(Sensor) กับ PLC

เทคนิคการต่อเซ็นเซอร์(Sensor) กับ PLC ปกติแล้วการต่อเซ็นเซอร์(sensor) กับ PLC ต้องพิจารณาที่ชนิดเอาต์พุตโดยสามารถแบ่งตามการไหลของกระแสไฟเอาต์พุตได้ 2 ชนิด คือ Sinking และ Sourcing    วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันถึงการใช้งานเอาต์พุตทั้ง 2 ชนิดนี้  สิ่งที่ควรจำ คือ เอาต์พุตชนิด Sinking กระแสไฟจะไหลจากภายนอกเข้าสู่ขั้วเอาต์พุตของเซ็นเซอร์และผ่านไปยังขั้วคอมมอน (Common)     ในขณะที่เซ็นเซอร์แบบ Sourcing กระแสไฟจากแหล่งจ่ายไฟบวกไหลผ่านออกไปที่ขั้วเอาต์พุตสู่โหลดภายนอก  เอาต์พุตทั้งสองชนิดนี้จะเน้นที่ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าไม่ใช่แรงดัน ซึ่งวิธีการกำหนดการไหลของกระแสไฟแทนแรงดันไฟจะช่วยลดปัญหาสัญญาณรบกวนได้ดีกว่า เมื่อกล่าวถึง Sinking และ Sourcing เรากำลังอ้างถึงเอาต์พุตของเซ็นเซอร์ที่ทำงานคล้ายกับสวิตช์ตัวหนึ่ง   แต่ในความเป็นจริงแล้วเอาต์พุตของมัน คือ ทรานซิสเตอร์ตัวหนึ่งที่ทำหน้าที่เหมือนสวิตช์   โดยทรานซิสเตอร์ชนิด NPN ถูกใช้กับเอาต์พุต Sinking และ PNP ถูกใช้กับเอาต์พุต Sourcing บางครั้งเราอาจเรียกว่าเอาต์พุตแบบ NPN และ PNP ตามลำดับ ตัวอย่างของเซ็นเซอร์ชนิดเอาต์พุต Sinking(NPN) แสดงในรูปที่ 1 เซ็นเซอร์จะใช้แหล่งจ่ายไฟภายนอกเพื่อให้มันสามารถตรวจจับวัตถุและทำงานได้    เมื่อตรวจจับวัตถุได้มันจะส่งสัญญาณกระตุ้นให้ทรานซิสเตอร์ NPN […]

System

22 February 2020

Edge computing คือ อะไร และประโยช์นกับ IoT

Edge computing คือ อะไร และประโยช์นกับ IoT เมื่อพูดถึง Edge computing หลายคนอาจจะไม่รู้ว่ามันคืออะไร ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับ Cloud computing ซึ่งปัจจุบันไปที่ไหนก็มีคนพูดถึงแต่คลาวด์ (Cloud) เนื่องจากข้อมูลข่าวสารที่เพิ่มมากขึ้น ความซับซ้อนที่มากขึ้น ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นจากการลงทุนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การดูแลรักษารวมทั้งต้องใช้บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ  จึงทำให้ Cloud Computing ได้รับความนิยมในยุค IoT ทั้งภาคธุรกิจขององค์กร และกำลังเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในภาคการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม  ซึ่งคลาวด์จะอาศัยเครือข่าย Internet ที่ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลเมื่อไรหรือที่ใดๆ ก็ได้   การนำคลาวด์เข้ามาใช้กับภาคการผลิตอาจมีข้อแตกต่างจากการใช้กับข้อมูลระดับบนขององค์กร เนื่องจากข้อมูลในภาคการผลิตจะอ้างอิงกับเวลาที่เรียกว่า Real Time ถ้าเราส่งข้อมูลเหล่านี้ขึ้นคลาวด์โดยปราศจากการคัดกรองและจัดเตรียมข้อมูล  จะทำให้ต้องส่งข้อมูลจำนวนมหาศาลขึ้นคลาวด์โดยไม่จำเป็น  ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิด Edge Computing ขึ้น แล้ว Edge computing คืออะไร?  แท้จริงมัน คือ การประมวลผลที่ขอบ (ของเครือข่าย) ซึ่งอาจจะอยู่ตรงไหนก็ได้ระหว่างอุปกรณ์นอกสุด (End devices) ซึ่งจะทำหน้าที่เก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูลที่อยู่ใกล้กับแหล่งข้อมูลให้มากที่สุด ข้อมูลอาจถูกวิเคราะห์หรือจัดรูปแบบเชิงสถิติ  หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการนำข้อมูลมาประมวลผลที่ต้นทางที่ใกล้กับแหล่งข้อมูลมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ […]

System

17 February 2020

โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP

โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP EtherNet/IP (IP = Industrial Protocol) คือ โปรโตคอลที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับการสื่อสารในภาคอุตสาหกรรมซึ่งใช้สถาปัตยกรรม Ethernet ทำให้สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ในโลกของ IT ได้ โดยสอดคล้องตามมาตรฐาน IEEE 802.3/TCP/UDP/IP  ในที่นี้เราคงไม่กล่าวถึงรายละเอียดและที่มาที่ไปของ EtherNet/IP แต่เราจะกล่าวถึงวิธีการต่อใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ เช่น PLC Inverter และ Servo Driver ที่รองรับ EtherNet/IP  โดยมีอยู่ด้วยกัน 3 รูปแบบ ดังนี้ แบบที่ 1 Device Level Ring (DLR) การต่อถึงกันของอุปกรณ์ต่างๆจะมีลักษณะเป็นวงแหวนดังแสดงในรูปข้างล่างนี้ ที่จุดต่อของอุปกรณ์แต่ละตัวจะต้องเป็น Ethernet Switch ซึ่งควรเป็น Industrial Switch (Industrial Ethernet Switch) ตัวอย่างเช่น PLC ในรูปจะมีพอร์ต EtherNet/IP จำนวน 2 พอร์ต ซึ่งทั้ง […]

System

7 January 2020

Warning: Undefined array key "offset_start" in /newdata/vhosts/sonicautomation.co.th/httpdocs/wp-content/themes/plant/inc/template-tags.php on line 122
1 4 5 6 11