ARTICLE

Big data
เทคนิคการรวบรวมข้อมูลจากสายการผลิตสู่ Big Data การก้าวสู่ยุค Industry 4.0 ด้วยเทคโนโลยี IIoT (Industrial Internet of Things) ถือว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่ง Big Data ถือเป็นเทรนด์สำคัญในยุคนี้เช่นกัน  ถ้าแปลแบบตรงตัว Big Data
Safety relay Allen-Bradley
เซฟตี้รีเลย์ (Safety relay) ทำงานอย่างไร เซฟตี้รีเลย์ (Safety relay) ทำงานอย่างไร เซฟตี้รีเลย์ทำงานอย่างไรและทำไมต้องใช้เซฟตี้รีเลย์ ต่อไปเรามาไขความกระจ่างกัน เซฟตี้รีเลย์ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับระบบ Machine safety ที่ขาดเสียมิได้  เพราะถือว่าเป็นอุปกรณ์เซฟตี้ที่ใช้อยู่ในอุปกรณ์ประเภท Logic Device เช่น Monitoring Safety
หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) เซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) คือ อุปกรณ์เซฟตี้ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต์ มักพบการใช้งานกับเครื่องปั๊มโลหะ และเครื่องจักรที่ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าถึงจุดเสี่ยงค่อนข้างบ่อย  เราอาจอธิบายอย่างง่ายว่าเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยเป็นโฟโตอิเล็กทริกเซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อปกป้องบุคคลจากการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากเครื่องจักร หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า AOPDs (Active Opto-electronic Protective Devices)
เทคนิคการต่อเซ็นเซอร์(Sensor) กับ PLC เทคนิคการต่อเซ็นเซอร์(Sensor) กับ PLC ปกติแล้วการต่อเซ็นเซอร์(sensor) กับ PLC ต้องพิจารณาที่ชนิดเอาต์พุตโดยสามารถแบ่งตามการไหลของกระแสไฟเอาต์พุตได้ 2 ชนิด คือ Sinking และ Sourcing    วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันถึงการใช้งานเอาต์พุตทั้ง 2 ชนิดนี้  สิ่งที่ควรจำ
Edge computing คือ อะไร และประโยช์นกับ IoT Edge computing คือ อะไร และประโยช์นกับ IoT เมื่อพูดถึง Edge computing หลายคนอาจจะไม่รู้ว่ามันคืออะไร ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับ Cloud computing ซึ่งปัจจุบันไปที่ไหนก็มีคนพูดถึงแต่คลาวด์
โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP EtherNet/IP (IP = Industrial Protocol) คือ โปรโตคอลที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับการสื่อสารในภาคอุตสาหกรรมซึ่งใช้สถาปัตยกรรม Ethernet ทำให้สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ในโลกของ IT ได้ โดยสอดคล้องตามมาตรฐาน IEEE 802.3/TCP/UDP/IP  ในที่นี้เราคงไม่กล่าวถึงรายละเอียดและที่มาที่ไปของ EtherNet/IP
5 เหตุผลที่ควรควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่านเน็ตเวิร์ค 5 เหตุผลที่ควรควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่านเน็ตเวิร์ค (Network) ในการฝึกอบรมการใช้ PLC ขั้นพื้นฐานมีลูกค้าท่านหนึ่งถามว่า ‘การควบคุมอินเวอร์เตอร์ด้วย PLC ผ่านเน็ตเวิร์คดีกว่า Hard-wired อย่างไร’ และ ‘การต่ออินเวอร์เตอร์เข้ากับเน็ตเวิร์คมันยากไหม’ ผู้บรรยายครุ่นคิดอยู่ชั่วครู่ก่อนที่จะตอบคำถามลูกค้าท่านนั้น โดยให้เหตุผล 5 ข้อ ที่ควรเลือกการเชื่อมต่ออินเวอร์เตอร์กับ
ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าและการปรับปรุง (ตอนที่ 1) ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าและการปรับปรุง (ตอนที่ 1) คุณภาพกำลังไฟฟ้า(Power Quality) ได้มีการให้ความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน  โดยทั่วไปนั้นมักให้ความสำคัญในปัญหาของคุณภาพไฟฟ้าในลักษณะที่แตกต่างกันตามเหตุการณ์ที่ได้เผชิญอยู่ เช่น แรงดันไฟฟ้าตก ไฟฟ้าดับ ไฟฟ้ากระโชก(หรือหลายคนเรียกไฟกระชาก) ไฟกระพริบ เป็นต้น คุณภาพไฟฟ้าในระดับสากลนั้นมักจะอ้างอิงตามมาตรฐาน IEEE ,IEC และอื่นๆที่ใกล้เคียงเช่น
การประหยัดพลังงานด้วยอินเวอร์เตอร์รีเจนเนอร์เรทีฟ (Regenerative Inverter) การประหยัดพลังงานด้วยไดรฟ์รีเจนเนอร์เรทีฟ (Regenerative Drive)           ปัจจุบัน Inverter หรือ AC Drive หรือ Variable Frequency Drive(VFD)
เคล็ดไม่ลับ “ประหยัดกว่าด้วยการควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่าน Ethernet” เคล็ดไม่ลับ “ประหยัดกว่าด้วยการควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่าน Ethernet” การควบคุมการทำงานของอินเวอร์เตอร์(Inverter) มักจะสั่งงานผ่านอินพุตเอาต์พุตของ PLC โดยใช้สัญญาณทั้งดิจิตตอลและอนาลอก เช่น Start, Stop, Speed reference และ Fault เป็นต้น ทำให้ต้องใช้อินพุตเอาต์พุตทั้งดิจิตอลและอนาลอกจำนวนหลายจุดสำหรับอินเวอร์เตอร์หนึ่งตัว  แต่ในยุคอุตสาหกรรม