เซฟตี้รีเลย์ (Safety relay) ทำงานอย่างไร เซฟตี้รีเลย์ (Safety relay) ทำงานอย่างไร เซฟตี้รีเลย์ทำงานอย่างไรและทำไมต้องใช้เซฟตี้รีเลย์ ต่อไปเรามาไขความกระจ่างกัน เซฟตี้รีเลย์ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับระบบ Machine safety ที่ขาดเสียมิได้ เพราะถือว่าเป็นอุปกรณ์เซฟตี้ที่ใช้อยู่ในอุปกรณ์ประเภท Logic Device เช่น Monitoring Safety
หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) หลักการทำงานของเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) เซนเซอร์ม่านแสงนิรภัย(Safety light curtain) คือ อุปกรณ์เซฟตี้ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต์ มักพบการใช้งานกับเครื่องปั๊มโลหะ และเครื่องจักรที่ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าถึงจุดเสี่ยงค่อนข้างบ่อย เราอาจอธิบายอย่างง่ายว่าเซนเซอร์ม่านแสงนิรภัยเป็นโฟโตอิเล็กทริกเซ็นเซอร์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อปกป้องบุคคลจากการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากเครื่องจักร หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า AOPDs (Active Opto-electronic Protective Devices)
โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP โครงสร้างเครือข่าย EtherNet/IP EtherNet/IP (IP = Industrial Protocol) คือ โปรโตคอลที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับการสื่อสารในภาคอุตสาหกรรมซึ่งใช้สถาปัตยกรรม Ethernet ทำให้สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ในโลกของ IT ได้ โดยสอดคล้องตามมาตรฐาน IEEE 802.3/TCP/UDP/IP ในที่นี้เราคงไม่กล่าวถึงรายละเอียดและที่มาที่ไปของ EtherNet/IP
5 เหตุผลที่ควรควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่านเน็ตเวิร์ค 5 เหตุผลที่ควรควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่านเน็ตเวิร์ค (Network) ในการฝึกอบรมการใช้ PLC ขั้นพื้นฐานมีลูกค้าท่านหนึ่งถามว่า ‘การควบคุมอินเวอร์เตอร์ด้วย PLC ผ่านเน็ตเวิร์คดีกว่า Hard-wired อย่างไร’ และ ‘การต่ออินเวอร์เตอร์เข้ากับเน็ตเวิร์คมันยากไหม’ ผู้บรรยายครุ่นคิดอยู่ชั่วครู่ก่อนที่จะตอบคำถามลูกค้าท่านนั้น โดยให้เหตุผล 5 ข้อ ที่ควรเลือกการเชื่อมต่ออินเวอร์เตอร์กับ
ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าและการปรับปรุง (ตอนที่ 1) ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าและการปรับปรุง (ตอนที่ 1) คุณภาพกำลังไฟฟ้า(Power Quality) ได้มีการให้ความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน โดยทั่วไปนั้นมักให้ความสำคัญในปัญหาของคุณภาพไฟฟ้าในลักษณะที่แตกต่างกันตามเหตุการณ์ที่ได้เผชิญอยู่ เช่น แรงดันไฟฟ้าตก ไฟฟ้าดับ ไฟฟ้ากระโชก(หรือหลายคนเรียกไฟกระชาก) ไฟกระพริบ เป็นต้น คุณภาพไฟฟ้าในระดับสากลนั้นมักจะอ้างอิงตามมาตรฐาน IEEE ,IEC และอื่นๆที่ใกล้เคียงเช่น
เคล็ดไม่ลับ “ประหยัดกว่าด้วยการควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่าน Ethernet” เคล็ดไม่ลับ “ประหยัดกว่าด้วยการควบคุมอินเวอร์เตอร์ผ่าน Ethernet” การควบคุมการทำงานของอินเวอร์เตอร์(Inverter) มักจะสั่งงานผ่านอินพุตเอาต์พุตของ PLC โดยใช้สัญญาณทั้งดิจิตตอลและอนาลอก เช่น Start, Stop, Speed reference และ Fault เป็นต้น ทำให้ต้องใช้อินพุตเอาต์พุตทั้งดิจิตอลและอนาลอกจำนวนหลายจุดสำหรับอินเวอร์เตอร์หนึ่งตัว แต่ในยุคอุตสาหกรรม