ทำไมต้องตรวจสุขภาพมอเตอร์ไฟฟ้า (Predictive maintenance for electric motor) ทำไมต้องตรวจสุขภาพมอเตอร์ไฟฟ้า คิดว่าหลายท่านคงมีความคุ้นเคยกับการตรวจสุขภาพประจำปี เหตุผลสำคัญก็เพื่อให้ทราบถึงแนวโน้มที่อาจก่อให้เกิดโรค เมื่อทราบแล้วจะได้หาแนวทางในการลดโอกาสที่จะเกิดโรคนั้นๆ เช่น ตรวจพบไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้นทุกๆปี ถ้าปล่อยให้เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ก็อาจก่อให้เกิด โรคความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ เป็นต้น ถ้าเราทราบเช่นนี้ทำให้สามารถว่าแผนในการลดความเสี่ยงการเกิดโรคได้ทันท่วงที ในทำนองเดียวกันมอเตอร์ไฟฟ้าซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญในโรงงานอุตสาหกรรม อาจทำงานล้มเหลวหรือเกิดความเสียหายขึ้นเมื่อไรก็ได้ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต
การใช้งาน Thin Client สำหรับอุตสาหกรรม การประยุกต์ใช้งาน Thin Client สำหรับอุตสาหกรรม ในปัจจุบันเราจะเห็นได้ว่ามีองค์กรต่างๆ ได้นำเอาระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมี PC, Notebook หรือแม้กระทั่ง Smart Phone เป็นอุปกรณ์หลักในการประกอบการทำงาน แต่อุปกรณ์เหล่านี้จำเป็นต้องมีผู้ดูแลที่มีความเชี่ยวชาญ ต้นทุนสูงและไม่ปลอดภัยสำหรับข้อมูลที่สำคัญ ดังนั้นจึงเริ่มมีแนวความคิดที่จะเอา
ความแตกต่างระหว่างอินเวอร์เตอร์ชนิด มาตรฐาน, Low Harmonic และ Regenerative โดยปกติเราจะใช้อินเวอร์เตอร์หรือไดรฟ์ (VSD) ในกระบวนการผลิต เช่น สายพานลำเรียง ปั๊มน้ำ มิกเซอร์ เป็นต้น แต่รู้หรือไม่ว่าอินเวอร์เตอร์ยังสามารถแบ่งชนิดย่อยเป็น 3 ชนิด เพื่อนำไปใช้งานได้อย่างเหมาะสมซึ่งจะกล่าวดังรายละเอียดข้างล่างนี้ 1.อินเวอร์เตอร์ชนิดมาตรฐาน เป็นอินเวอร์เตอร์ที่เราคุ้นเคยกันดีเพราะเมื่อต้องการใช้งานอินเวอร์เตอร์เรามักจะเลือกอินเวอร์เตอร์ชนิดนี้
RFID สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ผู้ผลิตส่วนใหญ่ในภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงประโยชน์ที่ได้รับจาก RFID (Radio Frequency IDentification) ในระบบซัพพลายเชนเป็นอย่างดี แต่พวกเขามักมองข้ามโอกาสในการประยุกต์เทคโนโลยี RFID สำหรับกระบวนการผลิต RFID สามารถรับมือกับความท้าทายด้านการผลิตได้มากมาย เช่น การควบคุมคุณภาพ ควบคุมการผลิตและการจัดการสินทรัพย์ เมื่อต้องนำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในสภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงคือ สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ไหม ผู้ผลิตที่ได้รับข้อมูลและใช้ประโยชน์ของข้อมูลจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของตัวเองได้ โรงงานอัจฉริยะในอนาคตจะพึ่งพาทั้งเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต(IoT)และเทคโนโลยีอื่น
การเลือกใช้ Proximity sensor ให้เหมาะกับงาน พร็อกซิมิตี้เซนเซอร์ (Proximity sensor) สามารถตรวจจับวัตถุได้โดยไม่ต้องสัมผัสกับวัตถุ ดังนั้นจึงนิยมใช้งานกันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมโดยมีให้เลือกใช้งานอยู่ 2 ชนิด คือ Inductive proximity sensor สำหรับใช้ตรวจจับโลหะ ซึ่งมีหลักการทำงานเบื้องต้นด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนอีกชนิดหนึ่งคือ Capacitive proximity